คู่มือเล่มนี้ องค์กร ARTICLE 19 ได ้น าเสนอนิยามความหมายและลักษณะของ ‘ถ ้อยค า
สรา้งความเกลยีดชงั’ (hate speech) และวิธีการตอบโตก้ลับอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ใน
ขณะเดียวกันก็ยังคงปกป้องสทิ ธเิสรภี าพในการแสดงออกและความเสมอภาคดว้ย คู่มือ
ฉบับนี้เกดิขนึ้ เพอื่ รองรับกับแนวโนม้ การใช ้‘ถอ้ ยค าสรา้งความเกลยีดชงั’ ที่เพิ่มขึ้น เพื่อให ้
มีแนวทางทชี่ ดั เจนในการบง่ ชลักษณะของ ี้ “ถอ้ ยค าสรา้งความเกลยีดชงั” และเพื่อการ
รับมอื กับความทา้ทายทมี่ ากับ “ถอ้ ยค าสรา้งความเกลยีดชงั” ภายใตก้ รอบสทิ ธมิ นุษยชน
จากประเด็นข ้างต ้น คมู่ อื นี้ตอบตอ่ ค าถามส าคัญ 3 ข ้อ ได ้แก่:
1. เราจะบง่ ชลักษณะของ ี้ ‘ถ ้อยค าสรา้งความเกลยีดชงั’ ที่สามารถจ ากัดควบคุมได ้ และ
สามารถแยกแยะออกจากถ ้อยค าที่ได ้รับการคุ้มครอง(protected speech) ได ้อย่างไร
2. มาตรการที่ภาครัฐและภาคสว่ นอนื่ สามารถด าเนนิ การเพอื่ ตอ่ ตา้น ‘ถ ้อยค าสร้าง ความ
เกลยีดชงั’ มีอะไรบ ้าง
3. ‘ถ ้อยค าสรา้งความเกลยีดชงั’ ประเภทใดและภายใต ้สถานการณ์ใดบ ้างที่ควร
ห ้ามปราม
คมู่ อืเลม่ นี้ไดร้ับการชแี้ นะจากหลักการที่ว่าด ้วยที่ประสานงานและการด าเนินการที่มีเป้า
เพอื่ สง่ เสรมิ สทิ ธเิสรภี าพในการแสดงออกและความเสมอภาค ซงึ่ ถอืเป็นคณุ คา่ ทสี่ าคัญ
อย่างยิ่ง ในสังคมประชาธปิ ไตยที่มีความเป็นพหุนิยมและความแตกต่างหลากหลายทาง
แนวคิด โดยประชาชนทุกคนสามารถเข ้าถึงสทิ ธใินทกุ ๆ ด ้าน คู่มือนี้ได ้ใชข ้อมูลและต่อ ้
ยอดมาจากงานเชงินโยบาย โดยองค์กร ARTICLE 19